Page 42 - SPRC_SD_16_TH
P. 42
42 ความรับผิดชอบในการดําาเนินธุรกิจ การบริหารจัดการน้า
โรงกลน่ั นา้ํ มนั ของเอสพอี ารซ์ ี ตงั้ อยู่ในเขตนคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ ซ่ึงเป็นเขตที่มีความเสี่ยงต่อภัยแล้งและการเกิดน้ําท่วม ดังนั้น เราจึง มุ่งมั่นท่ีจะบริหารจัดการนํ้าอย่างย่ังยืนเพ่ือให้มั่นใจว่าการดําเนินธุรกิจ จะไมห่ ยดุ ชะงกั และเพอ่ื ใหช้ มุ ชนโดยรอบมนี าํ้ ใชอ้ ยา่ งเพยี งพอ เนอื่ งจาก น้ําดิบจากภายนอกจําเป็นอย่างย่ิงต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เราจึงทุ่มเทและรณรงค์ให้พนักงานในองค์กรใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ถงึ แมว้ า่ บรษิ ทั ฯ จะมแี ผนลดการใชน้ าํ้ อยแู่ ลว้ แตก่ ย็ งั คงศกึ ษาหาแนวทาง การลดการใช้นํ้าอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ยังได้กําหนดเป้าหมายลดการใช้ นํ้าดิบจากภายนอกลงร้อยละ 20 ภายในปี 2563 (เทียบกับอัตราการใช้ น้ําดิบในปี 2558) ในปี 2559 น้ีบริษัทฯ สามารถลดการใช้น้ําดิบ ได้ 38 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ทําให้สามารถลดค่าใช้จ่ายได้ถึง 4.2 ลา้ นบาท จากการลดปรมิ าณนาํ้ ทงิ้ จากหมอ้ ตม้ ไอนาํ้ เพมิ่ การนาํ ไอนา้ํ ควบแน่นกลับมาใช้ใหม่ และใช้ประโยชน์จากนํ้าฝนให้มากท่ีสุด
ในปัจจุบัน เอสพีอาร์ซีได้ทําการศึกษา การลดปริมาณการใช้น้ําใน 3 โครงการ ได้แก่ การนําไอน้ําควบแน่นของหน่วยแตกตัวนํ้ามันหนัก (Fluid Catalytic Cracking Unit) กลับมาใช้ใหม่ การนํานํ้าทิ้งกลับมา ใช้ใหม่โดยผ่านกระบวนการกรอง และการนําน้ําจากกระบวนการผลิต (stripped sour water) กลบั มาใชใ้ หม่ นาํ้ จากกระบวนการผลติ (Stripped Sour Water) คือนํ้าท่ีเหลือจากการกลั่นนํ้ามัน ซ่ึงสามารถนํามาใช้ ล้างเกลือออกจากน้ํามันดิบก่อนเข้าสู่กระบวนการกลั่นได้ ในปี 2559 เอสพีอาร์ซีได้ทําการศึกษาในเร่ืองดังกล่าวและอยู่ในระหว่างพิจารณา หาทางเลือกที่เหมาะสม บริษัทฯ คาดว่าจะสามารถเร่ิมดําเนินการ ตามแผนได้ภายในปี 2560
เอสพีอาร์ซี มีแหล่งกักเก็บนํ้าสํารองซึ่งได้มาจากน้ําฝน เพ่ือใช้ในกรณี เกิดเหตุเพลิงไหม้ และบริษัทฯ ยังสามารถนําน้ําฝนในแหล่งกักเก็บ น้ําดังกล่าวมาใช้ในกระบวนการผลิตได้ ซึ่งในปี 2559 เป็นปีที่มีปริมาณ นาํ้ ฝนสงู มาก ทาํ ใหบ้ รษิ ทั ฯ สามารถนาํ นาํ้ ฝนมาใชใ้ นการดาํ เนนิ งานได้ เปน็ จาํ นวนมาก สง่ ผลใหล้ ดการใชน้ าํ้ ดบิ จากภายนอก และขณะนบี้ รษิ ทั ฯ อยู่ในระหว่างการพิจารณาลงทุน สร้างแหล่งกักเก็บนํ้าแห่งที่สอง เพ่ือให้สามารถเก็บสํารองนํ้าฝนไว้ใช้ในภาวะขาดแคลนน้ํา และลด การใช้น้ําดิบจากภายนอก
“โครงการการนาไอน้าควบแน่น (Condensate Recovery) กลับมาใช้ ใหม่ มีประสิทธิภาพมาก เราจึงสามารถลดการสูญเสียน้าได้ และยัง สามารถลดการใช้น้าดิบจากภายนอก ซึ่งส่งผลดีต่อชุมชนโดยรอบ”
นายยรรยง อังกลมเกลียว วิศวกรกระบวนการผลิต
แนวทางการใช้น้าดิบ (ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง)
เป้าหมาย
2556 2557
ปริมาณการใช้น้าจริง
2558 2559 2560 2561
ลดการใชน้ า้ ลง 20% ภายในปี 2563
2562 2563
350
350
324
360
360
319
354
344
308
283
357
350
การทิ้งนํ้าจากหม้อต้มไอนํ้าเป็นการควบคุมคุณภาพนํ้าและแร่ธาตุ สะสมในหม้อต้ม เพื่อให้การผลิตไอนํ้ามีประสิทธิภาพ เอสพีอาร์ซีได้ทํา การปรับปรุงคุณภาพของน้ําท่ีใช้ในการป้อนเข้าหม้อต้มไอน้ํา จึงทําให้ สามารถลดปริมาณนํ้าท้ิงจากหม้อต้มไอนํ้าลงได้
การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการนาํ ไอนาํ้ ควบแนน่ กลบั มาใชใ้ หม่ ทาํ ใหบ้ รษิ ทั ฯ สามารถนาํ นา้ํ ที่ใชแ้ ลว้ มาใชใ้ หมไ่ ด้ ทผี่ า่ นมานาํ้ ที่ไดจ้ ากไอนาํ้ ควบแนน่ บางส่วนจะท้ิงเปล่า แต่ในปัจจุบันนํ้าเหล่านี้ถูกนํากลับมาใช้ใหม่ใน หม้อต้มไอน้ํา
*
เ
ที
ย
บ
กั
บ
อั
ต
ร
า
ก
า
ร
ใ
ช้
น้
า
ํ
ปี
2
5
5
8