Page 41 - SPRC_SD_16_TH
P. 41
เมอื่ เทยี บกบั ปี 2558 สารประกอบอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยมคี า่ เพมิ่ ขนึ้ ประมาณ รอ้ ยละ 3 เนอื่ งจากมกี ารขนสง่ วตั ถดุ บิ เพมิ่ ขนึ้ ทงั้ ทางทะเลและรถบรรทกุ อยา่ งไรกต็ าม บรษิ ทั ฯ มมี าตรการในการลดสารประกอบอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย ทเี่ กดิ จากถงั เกบ็ ของเหลวแบบหลงั คาเคลอื่ นที่ โดยจะทาํ การตดิ ตงั้ guide pole cover ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ทงั้ หมดภายในปี 2562 นอกจากน้ี ภายในปี 2563 บริษัทฯ มีแผนในการใช้ระบบเติมนํ้ามันด้านล่างถัง (Bottom Load) ของรถบรรทกุ ทคี่ ลงั นา้ํ มนั (TankTruckTerminal)ทงั้ นรี้ ะบบเตมิ นาํ้ มนั ดา้ นลา่ งถงั นนั้ สามารถลดการปลดปลอ่ ยสารประกอบอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย ได้มากกว่าระบบเติมนํ้ามันจากด้านบนถัง (Top Load)
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จําากัด (มหาชน)
ในปี 2559 บรษิ ทั ฯ ไดท้ าํ การพจิ ารณา ทบทวน และปรบั ปรงุ แผนรบั มอื เหตุฉุกเฉินกรณีการหกร่ัวไหลของนํ้ามัน เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้อง กบั วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ ในอตุ สาหกรรม รวมถงึ จดั ใหม้ กี ารตรวจสอบจาก ทมี ผเู้ ชยี่ วชาญทางดา้ นการรบั มอื การหกรวั่ ไหลของนาํ้ มนั และจดั อบรม เชงิ ปฎบิ ตั กิ ารแกบ่ คุ ลากรในองคก์ ร เพอื่ ปรบั ปรงุ กระบวนการดาํ เนนิ งาน ในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดผลกระทบจากการหกร่ัวไหลของ น้ํามันทั้งภายในโรงกล่ัน และพ้ืนที่ปฏิบัติการนอกชายฝั่งของเราให้มี ประสิทธิภาพ
สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (VOC)
600 500 400 300 200 100
0
(เมตริกตัน)
464 450 475
2556 2557 2558
เป้าหมาย
2559 2560
ผลลัพธ์
2561 2562
ในปี 2557 บริษัทฯ ได้ทําการติดต้ังไซโคลนใน Regenerator ที่หน่วย แตกตัวนํ้ามันหนัก (RFCCU) ทําให้สามารถลดการปลดปล่อยอนุภาค ฝุ่นละอองได้ประมาณร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับปี 2556 เพื่อให้มั่นใจว่า จะสามารถลดการปลดปล่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ จัดให้มี การตดิ ตาม ตรวจสอบการทาํ งาน และบาํ รงุ อปุ กรณด์ งั กลา่ วอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
เอสพีอาร์ซี ได้เข้าร่วมหารือและฝึกปฎิบัติในการรับมือการหกรั่วไหล ของนํ้ามันกับหลายหน่วยงาน อาทิเช่น กองทัพเรือ กรมควบคุมมลพิษ กรมเจ้าท่า สมาคมอนุรักษ์สภาพแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมน้ํามัน (Oil Industry Environmental Safety Group Association: IESG) การนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย(มาบตาพตุ ) กลมุ่ อตุ สาหกรรม และ ผเู้ ชยี่ วชาญเรอื่ งการหกรว่ั ไหลของนาํ้ มนั เปน็ ตน้ ทงั้ นเี้ พอื่ เปน็ การทดสอบ ความพร้อมและมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
อนุภาคฝุ่นละออง (Particulate)
600 (เมตริกตัน)
491
0
เป้าหมาย
ผลลัพธ์
2561 2562
500
400
300
200
100 164
180
2558
147
2556 2557
2559 2560
การป้องกันและการจัดการการหกรั่วไหล
บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับผู้ให้บริการขนส่งน้ํามันทางเรือและรถบรรทุก ใน การทบทวนการป้องกันและการรับมือการหกร่ัวไหลของนํ้ามันอย่างต่อ เนื่อง โดยเน้นย้ําเร่ืองการป้องกันเชิงรุกของการหกรั่วไหลที่จะอาจเกิด ระหว่างการขนส่ง
*การหกรั่วไหลถึงข้ันบันทึก: การหกรั่วไหลของปิโตรเลียมเหลวและ สารเคมี
• หกร่ัวไหลลงสู่แหล่งนํ้า(ไม่ขึ้นอยู่กับปริมาณ)
• หกรว่ั ไหลลงสพู่ น้ื ดนิ หรอื ทกี่ กั กนั ทซ่ี มึ ผา่ นได้ สาํ หรบั นาํ้ มนั มากกวา่
หรอื เทา่ กบั 1 บารเ์ รล หรอื สารเคมมี ากกวา่ หรอื เทา่ กบั 160 กโิ ลกรมั
เอสพอี ารซ์ ไี ดด้ าํ เนนิ ธรุ กจิ โดยไมม่ เี หตกุ ารณก์ ารหกรว่ั ไหลถงึ ขนั้ บนั ทกึ * ตลอดระยะเวลา 6 ปีที่ผ่านมา มาตรการป้องกันการหกรั่วไหลของเรา ถือเป็นองค์ประกอบสําคัญในกระบวนการจัดการความปลอดภัยของ กระบวนการผลิต ความเชื่อถือได้และความปลอดภัย ซ่ึงจะกล่าวถึง รายละเอียดในหัวข้อความปลอดภัยของรายงานฉบับน้ีเรามุ่งม่ันทจี่ะ ป้องกันไม่ให้เกิดการหกรั่วไหลและเตรียมความพร้อมสําหรับกรณีหก รวั่ ไหลใหอ้ ยู่ในระดบั สากล ทงั้ นรี้ วมไปถงึ การมแี ผนรบั มอื เหตฉุ กุ เฉนิ มี ระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน ทมี สงั่ การและควบคมุ และอปุ กรณท์ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพื่อให้สามารถรับมือกับการหกรั่วไหลใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
489
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2559
41